Kwanmanie
  • Home
  • Courses
    • All Courses
    • Essay Course for Admissions
    • Private Essay Course
    • SOP & Essay Editing Service
  • Movies
    • Reviews
    • Previews & Trivia
  • Study
    • How to Write a Statement of Purpose (SOP)
    • English Writing
    • General
  • Lifestyle & Perspective
    • Fashion & Beauty
    • Food & Restaurant
    • Plants
    • Thoughts
    • Travel
    • Misc.
  • About
    • About Me
Follow
  • Facebook
  • Twitter
  • Instagram
  • Pinterest
  • YouTube
Facebook
Facebook
Subscribe

Enter your email address to subscribe to this blog and receive notifications of new posts by email.

  • Fashion
  • Food
  • Movies
  • Plants
  • Thoughts
  • Travel
KWANMANIE
KWANMANIE
  • Home
  • Courses
    • All Courses
    • Essay Course for Admissions
    • Private Essay Course
    • SOP & Essay Editing Service
  • Movies
    • Reviews
    • Previews & Trivia
  • Study
    • How to Write a Statement of Purpose (SOP)
    • English Writing
    • General
  • Lifestyle & Perspective
    • Fashion & Beauty
    • Food & Restaurant
    • Plants
    • Thoughts
    • Travel
    • Misc.
  • About
    • About Me
0 Follow
0 Follow
  • English Writing
  • Featured
  • Study

How to Write a Statement of Purpose (SOP)

  • November 23, 2014
  • kwanmanie
Total
1
Shares
1
0
0

สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ในการเตรียมตัวไปเรียนหรือศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ หรือเรียนต่อมหาวิทยาลัยหลักสูตรนานาชาตินั้น นอกจากปัจจัยทางการเงิน และคะแนนสอบต่างๆ (TOEFL/IELTS/GMAT ฯลฯ) แล้ว ยังมี Statement of Purpose หรือ SOP อีกหนึ่งอย่างที่ผู้สมัครทุกคนต้องเขียนให้ทางมหาวิทยาลัยพิจารณา ซึ่งวิธีการเขียน SOP นั้น จริง ๆ แล้วไม่ได้ยากอย่างที่คิด ใช้เวลาไม่นาน และไม่จำเป็นต้องไปจ้างให้คนอื่นเขียนแทนเราให้เลย ขอเพียงเรารู้จักตัวเองและรู้จักสิ่งที่ตัวเองกำลังเลือกไปเรียนเป็นอย่างดี สุดท้ายไม่ว่าอย่างไร การเขียน SOP ของตัวเองด้วยตัวเองย่อมดีที่สุด

เริ่มต้นเขียน SOP ยังไง?

ก่อนการลงมือเขียนจริง ผู้สมัครส่วนใหญ่มักจะ research หรือ google หาตัวอย่าง SOP บนอินเทอร์เน็ต แทนที่จะ research หาข้อมูลเฉพาะของหลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยที่กำลังจะสมัครเรียน ซึ่งนั่นเป็นความผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง

การเขียน SOP ให้ประสบความสำเร็จชัวร์ ๆ นั้น เราไม่ควรอ้างอิงหรือดูตัวอย่าง SOP ที่เรา google เจอมาเด๊ะ ๆ เพราะนั่นจะทำให้ SOP ของเราซ้ำซาก น่าเบื่อ ขาดความโปรเฟสชั่นนัล (ซึ่งแน่นอน อาจารย์ที่มหา’ลัยทั้งหลายล้วนดูออกว่างานของเราคัดลอกหรือดัดแปลงมา) และที่สำคัญคือ ขาดความเป็นตัวของตัวเอง

มหาวิทยาลัยต้องการอ่าน SOP ของเรา เพราะเขาอยากรู้จักเราจริง ๆ และเราต้องพึงระลึกไว้ว่า การเขียน SOP ก็คล้ายกับการเขียน essay แต่เป็น essay เกี่ยวกับตัวเราเอง

ย้ำอีกครั้งว่า SOP ที่ดี ไม่ใช่ SOP ที่เป๊ะแกรมมาร์ที่สุด หรือใช้คำสวยหรูเว่อร์วังที่สุด หากแต่เป็น SOP ที่ทำให้มหาวิทยาลัยเขารู้จักเราจริง ๆ และได้เห็นจริง ๆ ว่าเราเหมาะกับคณะหรือมหาวิทยาลัยของเขาหรือไม่ต่างหากที่สำคัญ ดังนั้นไม่จำเป็นต้องไปจ้างให้คนอื่นเขียนแทนเรา เพราะไม่มีใครจะรู้จักและเขียนเรื่องของเราได้ดีกว่าไปกว่าตัวเราเองเขียนเองอีกแล้ว

แค่เพียงเรารู้ว่าใน SOP ควรมีอะไรบ้าง แค่นั้น SOP ของเราก็เป็น SOP ที่เพอร์เฟ็กต์ที่สุดแล้ว โดยไม่ต้องอ้างอิง ลอกเลียนแบบ หรือดัดแปลงจาก SOP แผ่นใด ๆ บนโลก

ขั้นตอนแรกในการเขียน SOP คือหาข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันที่เราจะไปเรียน และเอามาเป็น source เขียนใน SOP ของเรา แล้วจะมีชัยไปเกือบครึ่ง ขั้นตอนต่อมาในการเขียน SOP คือการวาง outline โดยเราต้องลิสต์สิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับตัวเราเองลงไป ดังต่อไปนี้ (อาจจะทำเป็น mind map ก็ได้)

  • purpose of your graduate study
  • —coursework and educational experience
  • —specialised areas of interest (internships, projects, employment, research, and publications etc.)
  • personal skills
  • —tailor to dept (what makes you uniquely suited for this particular course etc.)
  • —future goals (including how overseas study will contribute to your academic and career goals)

หลักการโดยรวมในการเขียน SOP

ในแต่ละพารากราฟ เราก็จะพูดแต่ละ main idea ของเราเป็นพารากราฟละเรื่อง ๆ ไป โดยแต่ละพารากราฟนั้นจะต้องมี topic sentence เช่นเดียวกับการเขียน academic essay ทั่วไป และแต่ละพารากราฟจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับ your academic interest, experience, และ future career goals ด้วยเสมอ

เริ่มจาก interesting fact หรือ detail เกี่ยวกับตัวเรา หรือสถานการณ์ หรือเหตุการณ์ที่ทำให้เราเกิดความสนใจหรือความสามารถเฉพาะในด้านนี้โดยต้แงใส่ใจกับพารากราฟแรกให้มาก ๆ อย่ามัวแต่เขียนอะไรน่าเบื่อ ๆ ตามแพตเทิร์นที่เรา google เจอมา พยายามให้คนอ่านรู้สึก impressed กับเราให้มากที่สุดตั้งแต่พารากราฟแรก

ที่สำคัญพารากราฟแรกก็เหมือน introduction ดังนั้นอย่าเขียนยาวมาก แต่ควรรีบ get to the points เอาง่าย ๆ สัก 4-5 ประโยคก็ถือว่ายาวกำลังดีแล้วสำหรับพารากราฟแรกของ SOP แผ่นนึง และพยายามทำให้ “every word counted.” โดยใน 4-5 ประโยคของพารากราฟแรกนี้ก็ควรสรุปสาระสำคัญของ SOP ทั้งหมดเอาไว้ด้วย (เหมือนเขียนบทนำหรือบทคัดย่อของโครงงานสมัยเรียน) เพราะคนอ่านเขามักตัดสินตั้งแต่พารากราฟแรกแล้วว่า SOP ของคนคนนี้ worth reading ต่อไปหรือเปล่า (ก็เขายังมี SOP อีกเป็นร้อยแผ่นต้องอ่านนี่)

อย่าพูดวลีเยินยอตัวเองแบบเลื่อนลอยขึ้นมาเด็ดขาด ประเภท “I’m amazing,” “I’m talented,” “I’m very intelligent,” “I’m a great engineer,” หรือ “I got the highest GPA in…” จำพวกนี้ควรลดละเลิก เพราะคณะกรรมการเขาสามารถพินิจและใช้วิจารณญาณตัดสินได้เองจาก CV หรือ portfolio ของเรา ทางที่ดีถ่อมตัวไว้หน่อยก็ได้ เช่น “I believe that I have the confidence in myself to strive for the furthest goal.”

พูดง่ายๆ คือ เน้น show ให้มากกว่า tell เข้าไว้ กล่าวคือแทนที่เราจะใช้ adjectives อวยตัวเองขึ้นมาลอยๆ เราเปลี่ยนมาใช้ objects และ images ให้ชัดเจนไปเลยดีกว่า

สาระสำคัญที่ต้องเขียนบรรยายใน SOP (ดึงมาจาก outline ที่วางไว้ก่อนเริ่มเขียน)

  • your background and personality

บรรยายไปว่าโลกที่เราโตมามันเป็นยังไง เช่น ครอบครัว สังคม โรงเรียน และพยายามบอกว่าโลกพวกนั้นทำให้เราเป็นเราทุกวันนี้ได้อย่างไร หมายถึง มันทำให้เราเกิดความฝันหรือแรงบันดาลใจอย่างไรเกี่ยวกับสิ่งที่เราจะเรียนนี้

สาธยายให้เขาเห็นให้ได้ว่าเราเป็นอย่างไร และเคยทำอะไรมาบ้าง สอดคล้องหรือมีอิทธิพลต่อความสนใจหรือทักษะความสามารถเกี่ยวกับศาสตร์สาขานี้อย่างไรบ้าง แต่อย่าเขียนกว้าง ๆ ง่าย ๆ เช่น I love science หรืออะไรที่ดูล่องลอยแนวเทือก ๆ นี้เป็นอันขาด

สิ่งที่เราเคยทำมา ได้แก่ internships, projects, employment, research, หรือ publications เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เราโดดเด่น เพราะฉะนั้นโฟกัสกับมันให้มาก ๆ พยายามบรรยายถึง your past research experiences ให้เน้น ๆ ไปเลย

โดยสรุป เราต้องพยายามให้เขาเห็นว่าเราเป็นคนที่มีความพิเศษเฉพาะ และมีความเหมาะสมโดดเด่นกว่าคนอื่น ๆ อย่างไร เราต้องทำให้เขาเห็นให้ได้ว่า ในบรรดาผู้สมัครมากมายจากทั่วโลก ทำไมเขาจึงจำเป็นต้องยกเก้าอี้ที่นั้นให้กับเด็กที่ไหนก็ไม่รู้อย่างเรา

  • academics

อย่างที่กล่าวไปแล้วข้างต้น ก่อนที่เราจะเขียนประเด็น academics ได้นั้น เราต้องทำ research เกี่ยวกับหลักสูตร โปรแกรม หรือมหาวิทยาลัยที่เรากำลังสมัครนี้เสียก่อน แล้วเราจะต้องอธิบายใน SOP ให้ได้ว่า เราได้ศึกษาข้อมูลของหลักสูตรเขามาแล้วนะ เช่น หลักสูตร ชั้นเรียน อาจารย์ โอกาส หรือมุมมองอื่น ๆ เพิ่มเติมที่จะได้จากการเรียนที่นี่

ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการแสดงให้ทางมหาวิทยาลัยหรือทางคณะเขาเห็นว่า เราให้ความสำคัญและมีความสนใจกับที่นี่จริง ๆ ไม่ใช่ว่าเราเขียน SOP แผ่นนี้แผ่นเดียวแบบกว้าง ๆ แล้ว copy + paste (เปลี่ยนแค่ชื่อหลักสูตร โปรแกรม คณะ มหาวิทยาลัย) หว่านส่งไปเหมือนกันให้อีกหลายสิบมหาวิทยาลัยแบบที่พวก losers ทั่วไปชอบทำกัน

  • future academics and career path

พยายามบรรยายว่า โปรแกรมที่เราสมัครนี้ ถ้าได้เรียนและจบไปจริง ๆ มันจะช่วยส่งเสริมหรือเอาไปต่อยอดอย่างไรได้บ้างในด้านการศึกษาหรือการทำมาหากินในอนาคต ลองบรรยายดูว่าโปรแกรมนี้จะเป็นประโยชน์อย่างไรต่อชีวิตเราหลังเรียนจบ เช่น โอกาสทางอาชีพ, ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ, การศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น, การได้ทำงานในบริษัทต่างชาติ ฯลฯ

และย้ำว่า พยายามเขียนอะไรที่มัน unique หรือ specific ว่าเป็นเฉพาะของชีวิตเราเท่านั้น ส่วนอะไรที่มัน general มาก ๆ เช่น หนูจะได้ประสบการณ์ หนูจะได้เงินเดือนสูง ๆ ฯลฯ อย่าเขียนลงไปทื่อ ๆ ง่อย ๆ เพราะใครๆ เขาก็เขียนได้ (ต้องเข้าใจก่อนว่า เวลาคณะกรรมการเขาอ่าน SOP มาเป็นโหล ๆ แล้ว เขาจะเริ่มรู้สึกเอียน และรู้สึกว่าทุกคนทุกแผ่น มันก็เขียนเหมือน ๆ กันหมด)

Tips เพิ่มเติม

  • พยายามอย่าใช้คำย่อ เช่น don’t (do not) โดยเฉพาะอย่างเช่นชื่อมหาวิทยาลัยเขา ก็ควรเขียนชื่อเต็มก่อนแล้วค่อยเขียนคำย่อ เช่น University of California, Los Angeles (UCLA) เป็นต้น
  • ความยาวโดยทั่วไปของ SOP นั้น ทางมหาวิทยาลัยมักกำหนดมาให้ ซึ่งเราก็ควรรักษาความยาวให้อยู่ในตามที่เขากำหนดมา ขาดได้แต่ห้ามเกินเด็ดขาด แต่ถ้าในกรณีที่เขาไม่กำหนดมาให้ SOP ที่ดีควรมีความยาวประมาณ 1-2 หน้า หรือประมาณ 300-500 คำ (MS WORD สามารถนับจำนวนคำให้คุณได้)
  • อย่าพิมพ์ให้บรรทัดเรียงติดกันเป็นพรืด ๆ เพราะมันอ่านยาก อย่าลืมว่าคนอ่านเขาเป็นศาสตราจารย์หรือด็อกเตอร์แก่ ๆ ที่ต้องอ่านอะไรซ้ำ ๆ ซาก ๆ ตั้งหลายร้อยแผ่น ดังนั้นแนะนำว่า ช่องว่างระหว่างบรรทัด ควรเลือกแบบ double spacing (MS WORD หรือ Pages สามารถตั้งค่าได้อีกเช่นกัน) เพื่อความสวยงามน่าอ่าน
  • ที่สำคัญอย่าลืมตรวจทานการสะกดคำ (spelling) และการใช้ไวยากรณ์ (grammar) ให้ละเอียดถี่ถ้วน ก่อนกด send

ต้องการผู้ให้คำปรึกษาในการเขียน SOP และตรวจแก้ SOP?

***พี่ขวัญยินดีรับให้คำปรึกษาในการเขียน SOP ให้เหมาะสมกับตัวผู้เรียนกับคณะ/มหาวิทยาลัยนั้น ๆ และช่วยตรวจแก้ SOP เพื่อเพิ่มโอกาสในการสอบติดของผู้เรียนให้มากที่สุด

ผู้สนใจขอคำปรึกษาและเข้ารับการตรวจแก้ SOP สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.kwanmanie.com/sop-service/

สอบถามเพิ่มเติม Add LINE ID: @kwanmanie (มี @) หรือคลิกลิงก์ http://nav.cx/efUdaKm เพื่อ Add Line

Share this:

  • Click to share on Facebook (Opens in new window)
  • Click to share on Twitter (Opens in new window)
  • Click to share on Pinterest (Opens in new window)
Total
1
Shares
Share 1
Tweet 0
kwanmanie

Movie Blogger | Essay Tutor

Previous Article
  • Movies
  • Reviews

รีวิว The Hunger Games – Mockingjay Part 1

  • November 21, 2014
  • kwanmanie
View Post
Next Article
  • Movies
  • Previews & Trivia

16 Things in Nicholas Sparks Movies

  • November 24, 2014
  • kwanmanie
View Post
You May Also Like
View Post
  • Fashion & Beauty
  • Featured
  • Lifestyles & Perspectives

ทำความรู้จักกับหนัง exotic ทั้ง 4 ประเภท ของกระเป๋าแบรนด์ S’uvimol

  • October 21, 2019
  • kwanmanie
View Post
  • English Writing
  • General
  • Study

สรุป TCAS ระบบสอบเข้ามหาวิทยาลัยแบบใหม่ เริ่มใช้ปี 2561

  • June 7, 2017
  • kwanmanie
View Post
  • Fashion & Beauty
  • Featured
  • Lifestyles & Perspectives

Chanel Boy แท้ vs. Chanel Boy ปลอม

  • April 22, 2017
  • kwanmanie
View Post
  • English Writing
  • Featured
  • Study

ทีมแม่ขวัญสอบผ่านข้อเขียน BALAC CU 100%

  • February 21, 2017
  • kwanmanie
View Post
  • English Writing
  • Study

TEASER คลิปสอนทำข้อสอบ CU-TEP พาร์ท ERROR

  • February 12, 2017
  • kwanmanie
View Post
  • Featured
  • Movies
  • Previews & Trivia
  • Reviews

แนะนำไฮไลท์หนังและรีวิว La La Land: นครดารา

  • December 19, 2016
  • kwanmanie
View Post
  • Featured
  • Lifestyles & Perspectives
  • Travel

รีวิวประสบการณ์การเช่ารถสปอร์ตคาร์ รถหรูจาก Richcars Bangkok

  • March 18, 2016
  • kwanmanie
View Post
  • General
  • Lifestyles & Perspectives
  • Study

Should government interfere press and media freedom?

  • July 3, 2015
  • kwanmanie
130 comments

Comments navigation

Newer comments
  1. Pingback: viagra pills
  2. Pingback: viagra 100mg
  3. Pingback: ed pills online
  4. Pingback: mens erection pills
  5. Pingback: cheap erectile dysfunction pills online
  6. Pingback: order cialis
  7. Pingback: cvs pharmacy
  8. Pingback: walmart pharmacy
  9. Pingback: cialis visa
  10. Pingback: Real cialis online

Comments navigation

Newer comments

What's in your mind? Cancel reply

Popular Posts
  • รีวิว The Space Between Us: รักของเราห่างกันแค่ดาวอังคาร
    รีวิว The Space Between Us: รักของเราห่างกันแค่ดาวอังคาร
  • รีวิว Friend Request: ผีแอดเพื่อน
    รีวิว Friend Request: ผีแอดเพื่อน
  • รีวิว Kung Fu Panda 3: กังฟูแพนด้า 3
    รีวิว Kung Fu Panda 3: กังฟูแพนด้า 3
  • รีวิว The Green Knight: อัศวินเขียว
    รีวิว The Green Knight: อัศวินเขียว
  • รีวิว Voyagers: คนอนาคตโลก
    รีวิว Voyagers: คนอนาคตโลก
Follow Me
  • Instagram
  • Facebook
  • Twitter
  • YouTube
  • Pinterest
Contact
Bangkok, Thailand
LINE ID: @kwanmanie
contact@kwanmanie.com
ABOUT KWANMANIE

ขวัญ เรียนจบจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาฯ เป็นบล็อกเกอร์เต็มเวลา ชอบดูหนัง อ่านหนังสือ ซื้อกระเป๋า เลี้ยงแมว เลี้ยงต้นไม้ และเป็นติวเตอร์ภาษาอังกฤษ ประสบการณ์การสอนกว่าสิบปี เน้นสอน Essay Writing สำหรับผู้เรียนเตรียมสอบเข้าจุฬาฯ – มธ. หลักสูตรอินเตอร์

KWANMANIE
  • Home
  • Courses
  • Movies
  • Study
  • Lifestyle & Perspective
  • About
Movie Blogger | Essay Tutor

Input your search keywords and press Enter.